Login to your account

Username *
Password *
Remember Me

Create an account

Fields marked with an asterisk (*) are required.
Name *
Username *
Password *
Verify password *
Email *
Verify email *
Captcha *
Reload Captcha

Airlines & Aviation (40)

กองทัพเรือ เคาะเลือก BGRIM ดำเนินโครงการโรงไฟฟ้า Hybrid สำหรับงานระบบไฟฟ้าและระบบน้ำเย็นสนามบินอู่ตะเภายาว 6 ปี ถึงปี’66

ทอท.เมินกระแจโจมตีก่อสร้างอาคารผู้โดยสารหลังที่2 ไม่เป็นไปตามแผนแม่บท ยืนยันสร้างตามคำแนะนำของ ICAO เตรียมเสนอครม.พิจารณาแผนระยะสาม วงเงิน 7.26 หมื่นล้าน ม.ค.62

แหล่งข่าว จาก บมจ. ท่าอากาศยานไทย (AOT) หรือทอท. กล่าวว่า ที่ประชุมคณะกรรมการ (บอร์ด) ที่มีนายประสงค์ พูนธเนศ เป็นประธาน ให้เดินหน้าโครงการก่อสร้างอาคารผู้โดยสารหลังที่ 2 สนามบินสุวรรณภูมิต่อตามขั้นตอน

สถาบันการบินพลเรือน (สบพ.) รัฐวิสาหกิจ สังกัดกระทรวงคมนาคม จัดพิธีวางศิลาฤกษ์ อาคารเรียน ศูนย์พัฒนาบุคลากรด้านการบิน อาคารฝ่ายอำนวยการ และสิ่งก่อสร้างประกอบพร้อมครุภัณฑ์ ของ สถาบันการบินพลเรือน (อาคาร18ชั้น)

หลังจากที่ประชุมคณะกรรมการบริษัท สายการบินนกแอร์ จำกัด (มหาชน) วาระพิเศษ ครั้งที่ 4/2561 มีมติแต่งตั้ง “ประเวช องอาจสิทธิกุล” กรรมการ เข้าดำรงตำแหน่งรักษาการประธานเจ้าหน้าที่บริหาร (ซีอีโอ) แทน “ปิยะ ยอดมณี” ที่ขอลาออกจากตำแหน่งประธานเจ้าหน้าที่บริหารและกรรมการทุกชุด ตั้งแต่วันที่ 27 สิงหาคม 2561 เป็นต้นไป

ทอท.เดินหน้าเสนอตัวรับบริหารสนามบินเพิ่ม แก้ปัญหาความแออัดของสนามบินหลักทั้ง 6 แห่ง ล่าสุดเตรียมซื้อทีโออาร์เข้าลงทุน-บริหารสนามบินอู่ตะเภา เฟส 2 อีกโครงการในเดือนตุลาคมนี้

“ประเวช องอาจสิทธิกุล” รักษาการซีอีโอนกแอร์ ยัน “ปิยะ ยอดมณี” ลาออก ไม่กระทบแผนเทิร์นอะราวนด์ พร้อมบุกธุรกิจคาร์โก้-ขายโฆษณาบนเครื่องบิน สร้างพอร์ตรายได้ใหม่ แจง “บอร์ด-ผู้ถือหุ้น-ผู้บริหาร” ไม่ขัดแย้งส่วนข่าวบอร์ดปฏิเสธแผนธุรกิจเป็นแค่เรื่องดราม่า ตั้งเป้าหยุดตัวเลขขาดทุนได้ในปี’62

นายนิตินัย ศิริสมรรถการ กรรมการผู้อำนวยการใหญ่ บริษัท ท่าอากาศยานไทย จำกัด (มหาชน) (ทอท.) เปิดเผยว่า ตามที่มีข้อสงสัยเกี่ยวกับผลการประกวดแบบอาคารผู้โดยสาร หลังที่ 2 ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ (ทสภ.)

การใช้ 3D Printer ในอุตสาหกรรมการผลิตจะมีเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง อย่างเช่นบริษัทผลิต Precision Parts ในประเทศญี่ปุ่น  “Ifuku Seimitsu” ตั้งเป้า “เลิกใช้แม่พิมพ์” และเปิดสายการผลิตที่ใช้ 3D Printer ผลิตชิ้นส่วนโลหะสำหรับอากาศยานภายในปี 2022

ฮิตาชิประกาศผลการพัฒนาเทคโนโลยีการตรวจสอบสัมภาระแบบเอ็กซเรย์ซึ่งใช้ปัญญาประดิษฐ์ (AI) เมื่อวันที่ 1 ที่ผ่านมา โดย AI ที่ใช้ สามารถตรวจสอบสัมภาระได้อย่างถี่ถ้วน สามารถจำแนกวัสดุที่ใช้และความหนาแน่นของสัมภาระชิ้นนั้นๆ

Page 3 of 3
X

ลิขสิทธิ์ของ IM

ห้ามผู้ใดทำซ้ำ คัดลอก ลอกเลียน ดัดแปลง ปลอมแปลง จัดเผยแพร่ เรียกดึงข้อมูล บันทึก ส่งผ่าน หรือกระทำการใดๆ ที่ละเมิดสิทธิและทรัพย์สินทางปัญญาของ IM